วารสารวิชาการ

Vol 15, No 1 (2019): มกราคม - เมษายน 2562

วารสารวิชาการ ปี 2019, ปีที่ตีพิมพ์ 2019


ผลการทำสมาธิบำบัดผู้ป่วยรอผ่าตัด โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ( EFFECTS OF MEDITATION OF PRE-OPERATIVE PATIENTS IN CHIANG RAI PRACHANUKROH HOSPITAL )

Abstract

 

          ขั้นตอนการผ่าตัดสามารถทำให้เกิดความกลัวความวิตกกังวลและนอนไม่หลับในผู้ป่วย ช่วงเวลาก่อนผ่าตัดเป็นช่วงเวลาที่เครียดที่สุดสำหรับผู้ป่วยซึ่งอาจนำไปสู่การกำหนดเวลาการผ่าตัดใหม่ได้ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาการทำสมาธิกำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นเพื่อเป็นการลดความเครียดของผู้ป่วยก่อนเข้ารับการผ่าตัด การทำสมาธิ สามารถช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจอัตราการหายใจและความดันโลหิต เพื่อเปรียบเทียบความดันโลหิตระหว่างผู้ป่วยก่อนผ่าตัดที่ได้รับการพยาบาลตามปกติเพียงอย่างเดียวและได้รับการพยาบาลตามปกติและฝึกสมาธิ ประเภทการศึกษาแบบ Interrupted time series ศึกษาผู้ป่วยรอผ่าตัด ห้องรอผ่าตัดโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ในช่วงเวลาทำการ กลุ่มแรก (กลุ่มควบคุม) ได้รับการพยาบาลตามปกติโดยเจ้าหน้าที่พยาบาล 771 คน เก็บรวบรวมข้อมูลช่วงเวลาเดือน มกราคม - มีนาคม 2560 กลุ่มที่สอง (กลุ่มทดลอง) ได้รับการพยาบาลตามปกติและฝึกสมาธิ 772 คน เก็บรวบรวมข้อมูลช่วงเวลาเดือน เมษายน – มิถุนายน 2560 บันทึกสัญญาณชีพแรกรับและ 20 นาที หลังจากนั้น วิเคราะห์ทางสถิติ t-test rank sum test และการถดถอยแบบ Gaussian พบว่า เพศ อายุและจำนวน วันที่นอนโรงพยาบาล และระยะห่างของการวัดสัญญาณชีพทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน กลุ่มควบคุมมีแนวโน้มที่จะมีระดับการศึกษาต่ำกว่าและมีประวัติผ่าตัดน้อยกว่า กลุ่มควบคุมยังเข้ารับการผ่าตัดศัลยกรรมทั่วไปและศัลยกรรมกระดูกมากกว่ากลุ่มทดลอง และมีโรคประจำตัวมากกว่า เมื่อสิ้นสุดการศึกษากลุ่มที่ทดลองมีความดันโลหิตค่า Sytolic ลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุม (8.9 ± 12.9 mmHg และ 6.9 ± 14.6 mmHg, p-value < 0.001) ดังนั้นการทำสมาธิในผู้ป่วยก่อนการผ่าตัดสามารถลดความดันโลหิตได้และควรใช้ในผู้ป่วยทุกรายที่มีประวัติความดันโลหิตสูง

          Operative procedure can induce fear, anxiety, and insomnia in patients. Pre-operative period is often the most stressful time for patients which can even lead to rescheduling of the operation. In recent years, meditation is gaining popularity as an intervention to reduce stress pre-operative patients. Meditation can helps reduce heart rate, respiratory rate, and blood pressure.To compare blood pressure between pre-operative patients whom receive routine nursing care alone and whom receive routine nursing care and practice meditation. Interrupted time series study type. Pre-operative room of Chiang Rai Prachanukroh hospital during office hours First group (control group): receive routine nursing care by staff nurse. 771 patients. Collecting data period: January-march 2560 Second group (intervention group): receive routine nursing care and practice meditation. 772 patients Collecting data period: april-june 2560 Record vital signs at arrival and 20 minutes later. T-test rank sum test and Gaussian regression is used for statistical analysis Sex, age and duration of admission in both groups do not differ. Control group tends to have lower level of education and have less surgical history. Control group also admitted for general surgery and orthopedics surgery more than intervention group. Underlying diseases is also more common in control group. At the end of study, intervention group have lower systolic blood pressure than control group (8.9 ± 12.9 mmHg and 6.9 ± 14.6mmHg, p-value < 0.001). Meditation in pre-operative patients can reduces blood pressure and should be apply in all patient with history of hypertension.

 

References

 

Chomchuen Somprasert. (1982). The effect of Buddhist Meditation on the Level of Anxiety. Master of Science (Clinical Psychology). Bangkok: Graduate Studies, MahidolUniversity.

Pongpan Aroonsang. (2008). Nursing care for coronary artery disease. Khon Kaen: Faculty of Nursing, Khon Kaen University.

Thitisuda Somwatee, LinchongPothiban&Parade eNanasilp.(2011). Effect of Thai Qigong meditation exercise on blood pressure of the elderly withhypertension. Nursing Journal, 38(4): 81-92.

Somporn Kantaradusdi-Triamchaisri. (2007). Meditation for Health Healing. Bangkok: Faculty of Public Health, Mahidol University.

MedtitationHealing. (2017). Meditation Therapy. Retrieved from http//www.hypnosishappy.com.

Pongpan Kirdpitak. (1991). “Counseling Skill”: Relaxation and Reduce Anxiety Systematically. “Basic Counseling Technique” .Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University.

Chatchawan Panyapayatjati. ( 2014). Emotion: Pathogen Factors Should not be Overlooked. Retrieved fromhttp://www.thaihealth.or.th.

วันที่โพส วันที่ 2 กันยายน 2562 เวลา 16.21 น. , อ่าน 236 , โพสโดย กลุ่มแผนงาน





Full Text | ดาวน์โหลด 162 ครั้ง